logo

人気ランキング

タイでのゲーム人気ランキングと総括

タイでのゲーム人気ランキングと総括

  1. Grand Theft Auto V (PS3, XB360)
  2. The Last of Us (PS3)
  3. StarCraft II: Heart of the Swarm (PC)
  4. BioShock Infinite (PC, PS3, XB360)
  5. Cube World (PC)
  6. Despicable Me: Minion Rush (iOS, Android)
  7. Saints Row IV (PC, PS3, XB360)
  8. Metro: Last Light (PC, PS3, XB360)
  9. God of War: Ascension (PS3)
  10. Crysis 3 (PC, PS3, XB360)

 

引用元:”2013年第4四半期ゲームランキングTOP20 @SANOOK.COM”

http://game.sanook.com/952797/20-อันดับโคตรเกมส์แห่งปี-2013

タイのゲーム市場に関して言うと、いまでこそ多くの家庭にゲーム機が普及しているが、古い話をすると10年前にはまだまだゲーム機を所有する人は少数で、大多数のゲーマーは街のインターネットカフェに行き、店備え付けのPCにインストールされたゲームやオンラインゲームを遊ぶことが多かった。現在でもローカル・インターネットカフェの看板を見ると「ネット&ゲーム」などと書いてあるところが多いのはそのためだ。

日本では各家庭にあらゆる種類のガジェットが揃い、専用ゲーム機を複数台所有するユーザーも多いだろう。そして日本でのゲーミングスタイルといえば個室のなか一人で気が済むまで没頭する、というイメージか。

現在のタイではそのようなユーザーももちろん多いだろうが、しかし筆者の目には先ほどお話したようなネット&ゲームカフェに日がな一日入り浸り、周りのゲーマーとワイワイ雑談をしながらゲームをし、お腹が空けばその場で何かをつまんだり、最新タイトルや攻略法などについての情報を口コミで交換しあう、そんな「タイ式」ゲーム環境が印象に残っている。

そんないかにもタイらしいクロスオーバーなランキングを見つけたので転載させていただく。ハードウェアにこだわらずに単純に人気投票の結果をまとめてあるので、おそらくタイのゲーム市場の現在をそのまま反映しているのではないかと思う。

個々のゲームの解説については読者の方々のほうがよっぽど詳しいであろうから筆者からは遠慮させていただく。

そこでおまけというわけではないが、タイのショッピングセンターなどにあるコイン式のゲームの写真をお見せしよう。タイに旅行に行かれた方は目にする機会もあると思う。よく見るとコンソールに埋め込んであるのはPS3などの専用ゲーム機である。コントローラーも純正のものが付いている。これにコインの投入口が設けてあり、一回10バーツで遊んでもらうという算段だ。

椅子もちゃんと二人分用意されているので、もし日本人ゲーマーの皆さんがタイの女の子とデートをすることがあれば、デート中のちょっとした気分転換に一緒に座ってもらい、その日本仕込みの鬼のような腕前を披露してみる、なんてことも出来るわけだ。嫌がられない範囲でどうぞ。

การจัดอันดับเกมที่ได้รับความนิยมสูงสุดในไทย

  1. Grand Theft Auto V (PS3, XB360)
  2. The Last of Us (PS3)
  3. StarCraft II: Heart of the Swarm (PC)
  4. BioShock Infinite (PC, PS3, XB360)
  5. Cube World (PC)
  6. Despicable Me: Minion Rush (iOS, Android)
  7. Saints Row IV (PC, PS3, XB360)
  8. Metro: Last Light (PC, PS3, XB360)
  9. God of War: Ascension (PS3)
  10. Crysis 3 (PC, PS3, XB360)

 

แหล่งอ้างอิง:”การจัดอันดับเกมควอเตอร์ที่ 4 ปี ค.ศ.2013 TOP20 @SANOOK.COM”

http://game.sanook.com/952797/20-อันดับโคตรเกมส์แห่งปี-2013

เมื่อพูดถึงตลาดเกมไทย แม้ว่าในปัจจุบันการมีเครื่องเกมในบ้านทั่วไปกลายเป็นเรื่องปกตินั้น ถ้าย้อนไปเมื่อ 10 ปีก่อน คนที่มีเครื่องเกมมีน้อยคนมาก ๆ เกมเมอร์สมัยนั้นส่วนใหญ่จะเข้าร้านเน็ตในซอย เล่นเกมที่ติดตั้งในคอมพิวเตอร์ของร้านหรือเล่นเกมออนไลน์ ปัจจุบันเองหน้าร้านเน็ตทั่วไปส่วนใหญ่จึงยังคงขึ้นป้ายว่า “เน็ต&เกม”

ที่ญี่ปุ่น บ้านแต่ละบ้านมักมีแก็ตเจ็ตหลากหลายชนิด บ้านที่มีเครื่องเกมเฉพาะบ้านละหลายเครื่องก็มีมากเช่นกัน ดังนั้นถ้าพูดถึงสไตล์การเล่นเกมที่ญี่ปุ่นแล้ว จะเป็นแบบจดจ่อเล่นอยู่ในห้องหรือเล่นคนเดียวจนกว่าจะพอใจ

ปัจจุบันในเมืองไทยก็เริ่มมีแบบนี้เยอะ แต่ในสายตาของผู้เขียนยังคงติดภาพกับบรรยากาศการเล่นเกม “แบบไทย” อย่างที่พูดถึงในตอนแรก จมอยู่ในร้านเน็ต&เกมตลอดทั้งวัน ได้เจี้ยวจ้าวกับคนเล่นเกมข้างๆ ไปเล่นเกมไป พอหิวก็หาอะไรกินกันตรงนั้น ได้แลกเปลี่ยนกันเรื่องแคปเจอร์หรือเกมใหม่ ๆ

พบวิธีจัดอันดับแบบครอสโอเวอร์สไตล์ไทย ๆ จึงขอเขียนใหม่ เป็นผลสรุปจากคะแนนโหวดความนิยมเพียว ๆ ไม่มองด้านฮาร์ดแวร์ใด ๆ จึงคิดว่าน่าจะสะท้อนภาพตลาดเกมปัจจุบันได้อย่างตรงไปตรงมามากกว่า

รายละเอียดเกี่ยวกับเกมแต่ละเกมคิดว่าผู้อ่านคงจะรู้ละเอียดกว่ามาก ผู้เขียนจึงขอละประเด็นนี้ไป

ไม่ใช่เป็นการแถมท้ายอะไร ลองดูรูปเกมหยอดเหรียญที่วางในที่ต่าง ๆ ในเมืองไทย อย่างเช่นในห้างสรรสินค้า นักท่องเที่ยวที่มาเมืองไทยคงได้เห็นอยู่บ้าง ถ้าดูดี ๆ จะเห็นว่าเครื่องที่ฝั่งในตู้เป็นเครื่องเล่นเกมเฉพาะ เช่น PS3 ตัวควบคุมก็เป็นของแท้ นำมาติดตั้งชุดหยอดเหรียญ เล่นครั้งละ 10 บาท

เก้าอี้ก็เป็นแบบนั่งได้สองคน ถ้าเกมเมอร์ชาวญี่ปุ่นออกเดทกับสาวไทย ก็สามารถเปลี่ยนบรรยากาศระหว่างเดท พาสาวมานั่งด้วยกันแล้วเริ่มออกลายสไตล์ปีศาจญี่ปุ่น อะไรประมาณนี้น่าจะได้ผล ถ้าสาวเจ้าไม่กรี๊ดหนีไปเสียก่อนนะ